วันอังคารที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

Index

ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกคนเข้าสู่ Website ห้องเรียนครูนุช

















ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  โรงเรียนวังบ่อวิทยา
อำเภอหนองบัว  จังหวัดนครสวรรค์

เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม


สมบัติของเลขยกกำลัง   

1. สมบัติการคูณเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก เมื่อ a เป็นจำนวนใด ๆ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวก

 

 

เช่น     23x 27x 2= 2 (3 + 7 + 9) = 219

2. สมบัติการหารเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก

กรณีที่ 1 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกที่ m > n

เช่น     412÷ 43=412-3  = 49

กรณีที่ 2 เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, nเป็นจำนวนเต็มบวกที่ m = n

นิยาม ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ a0 = 1

เช่น      67÷ 6= 67-7 = 60  = 1  หรือถ้า (-7)= 1

กรณีที่ 3เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใดๆที่ไม่ใช่ศูนย์ และ m, n เป็นจำนวนเต็มบวกที่ m < n

เช่น      =  1/ 54-9

นิยาม ถ้า a เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่ไม่ใช่ศูนย์ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก แล้ว

    หรือ    

เช่น               หรือ      

3.สมบัติอื่นๆของเลขยกกำลัง

1. เลขยกกำลังที่มีฐานเป็นเลขยกกำลัง

 เมื่อ a ≥0 และ m, n เป็นจำนวนเต็ม

เช่น              

2. เลขยกกำลังที่มีฐานอยู่ในรูปการคูณ หรือการหารของจำนวนหลาย ๆจำนวน

    และ         เมื่อ a ≠ 0 , b ≠ 0 และ n เป็นจำนวนเต็ม

เช่น       

3. เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นเศษส่วน

       เมื่อ a > 0 และ n เป็นจำนวนเต็มบวกที่มากกว่า 1

เมื่อ a ≠ 0 และ m เป็นจำนวนเต็มบวก ; n ≥ 2

4. 
จำนวนยกกำลัง ศูนย์ ได้เท่ากับ 1    

เซต

เซต1 https://www.youtube.com/watch?v=eHqP3FXQFTM&t=206s

อินเตอร์เซกชัน


ยูเนียน (Union)
         บทนิยาม
          เซต A ยูเนียนกับเซต B คือเซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A หรือ เซต B หรือทั้ง A และ B สามารถเขียนแทนได้ด้วย สัญลักษณ์ A B
ตัวอย่างเช่น A ={1,2,3}
  B= {3,4,5}
 
     A B = {1,2,3,4,5}


   อินเตอร์เซกชัน (Intersection)
          บทนิยาม
      เซต A อินเตอร์เซกชันเซต B คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A และเซต B สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A B
ตัวอย่างเช่น A ={1,2,3}
  B= {3,4,5}
 
A B = {3}
   





   คอมพลีเมนต์ (Complements)
          บทนิยาม
      ถ้าเซต A ใดๆ ในเอกภพสัมพัทธ์ U แล้วคอมพลีเมนต์ของเซต A คือ เซตที่ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของ U แต่ไม่เป็นสมาชิกของ A สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A'
ตัวอย่างเช่น U = {1,2,3,4,5}
  A ={1,2,3}
 
A' = {4,5}



   ผลต่าง (Difference)
        บทนิยาม
      ถ้าเซต A และ B เป็นเซตใดๆในเอกภพสัมพัทธ์ u เดียวกันแล้ว ผลต่างของเซต A และ B คือ เซตซึ่งประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นสมาชิกของเซต A แต่ไม่เป็นสมาชิกของเซต B สามารถเขียนแทนได้ด้วยสัญลักษณ์ A - B
ตัวอย่างเช่น A ={1,2,3}
  B= {3,4,5}
 
A - B = {1,2}




วันจันทร์ที่ 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2563

บทที่ 1 เซต

1.1 เซต
1.2 การดำเนินการระหว่างเซต
      1.2.1 อินเตอร์เซกชัน
      1.2.2 ยูเนียน
      1.2.3 คอมพลีเมนต์
      1.2.4 ผลต่างระหว่างเซต
1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖

บทเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

บทที่ 1เลขยกกำลัง
   1.1 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
   1.2 รากที่ n ของจำนวนเต็ม
   1.3 เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนตรรกยะ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔

1.1 เซต
      เซต 1
      เซต 2
      เซต 3
      เซต 4
      เซต 5
1.2 การดำเนินการระหว่างเซต
      1.2.1 อินเตอร์เซกชัน
      1.2.2 ยูเนียน
      1.2.3 คอมพลีเมนต์
      1.2.4 ผลต่างระหว่างเซต
1.3 การแก้ปัญหาโดยใช้เซต

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓

บกเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒

บทเรียน

ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๑

บทเรียน

คณิตศาสตร์ เรื่องเซต

เซต 1https://www.youtube.com/watch?v=eHqP3FXQFTM&list=PLbyZhbTzHPazGH8xeNBta2wooln22ERsk
เซต 2https://www.youtube.com/watch?v=P845bCZDGRc
เซต 3https://www.youtube.com/watch?v=Q-JQQKJL2LQ
เซต 4https://www.youtube.com/watch?v=pxydDb0rDLw
เซต 5https://www.youtube.com/watch?v=oqtP1sI413c

Index

ยินดีต้อนรับนักเรียนทุกคนเข้าสู่ Website ห้องเรียนครูนุช ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  โรงเรียนวัง...